การจัดการเรียนการสอนแนวทาง ทวิ/พหุภาษา โดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน ระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
การจัดการเรียนการสอนแนวทางทวิ/พหุภาษา โดยใช้ภาษาแม่เป็นฐาน เป็นการจัดการศึกษาสำหรับผู้เรียนที่มีความประสงค์หรือต้องไปจัดการเรียนรู้ให้กับนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 ของโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาท้องถิ่นหรือภาษาแม่ของเด็กในการพูดคุยสื่อสารระหว่างกันที่บ้านและในชุมชนได้อย่างมีคุณภาพและมีความสุข ผู้เรียนจะได้เรียนรู้แนวทางและหลักการในการสอน การพัฒนาและผลิตสื่อในระดับประถมศึกษาปีที่ 1 ที่สะท้อนถึงวิถีชีวิตของชุมชนกลุ่มชาติพันธุ์ หลักสูตรนี้ ผู้เรียนสามารถลงทะเบียนเข้าเรียนในระบบออนไลน์ได้โดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย ผู้เรียนต้องทำแบบทดสอบความเข้าใจก่อนเรียนและหลังเรียน หลักสูตรนี้ประกอบด้วย 5 หน่วยการเรียนรู้ และแต่หน่วยการเรียนรู้จะเป็นวีดีโอการบรรยาย การสาธิตและการสอน ผู้เรียนต้องทำแบบทดสอบความเข้าใจประจำหน่วย ประเมินความพึงพอใจท้ายบท เพื่อรับเกียรติบัตร
Example Curriculum
- วัตถุประสงค์
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 1
- ภาพรวมวีดีโอแนะนำทวิ/พหุภาษาคืออะไร (3:24)
- จุดประสงค์ของการจัดการเรียนการสอนแนวทางทวิ/พหุภาษา (4:48)
- หลักการของการจัดการเรียนการสอนแนวทางทวิ/พหุภาษา (15:24)
- ลักษณะรูปแบบการจัดการเรียนการสอน (11:00)
- การจัดการในชั้นเรียนแนวทางทวิ/พหุภาษา (14:32)
- ทฤษฏีที่เกี่ยวข้องกับทวิ/พหุภาษา (10:10)
- ทวิภาษา 4 รูปแบบ (8:41)
- สิทธิเด็ก (8:55)
- ข้อสอบประจำหน่วยที่ 1
- สรุปความเข้าใจหน่วยที่ 1 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- วัตถุประสงค์
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 2
- โครงสร้างหลักสูตรภาษาไทย และภาษาท้องถิ่น (สมรรถนะที่ต้องการให้เกิดขึ้น) (7:06)
- แผนการสอน ชั้นประถมศึกษา (7:21)
- วิธีการสอนคำศัพท์วิชาการ (9:26)
- ภาพรวมการสอนรายวิชาในระดับชั้นประถมศึกษา (7:24)
- ตัวอย่างการจัดกิจกรรมรายวิชาวิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ป.1 (10:42)
- ตัวอย่างการจัดกิจกรรมรายวิชาคณิตศาสตร์ ระดับชั้น ป.1 (9:29)
- วัดผลประเมินผล (2:50)
- ข้อสอบประจำหน่วยที่ 2
- สรุปความเข้าใจหน่วยที่ 2 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- วัตถุประสงค์
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 3
- วีดีโอแนะนำสื่อที่ใช้ในระดับประถมศึกษา (11:50)
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของเพลง (1:55)
- วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนเพลง (7:10)
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของสื่อหนังสือรูปภาพ (2:46)
- วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนหนังสือรูปภาพ (11:19)
- ความหมายวัตถุประสงค์ของสื่อหนังสือเล่มใหญ่ (2:51)
- วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนหนังสือเล่มใหญ่ (11:31)
- ความหมายวัตถุประสงค์ของสื่อหนังสือเล่มเล็ก (2:17)
- วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนหนังสือเล่มเล็ก (10:07)
- แนะนำวิธีการสอนแบบเรียนอ่านเขียนภาษาไทย (แบบเรียนเชื่อโยง) (6:13)
- ความหมายวัตถุประสงค์ของแบบเรียนอ่านเขียนภาษาไทย (แบบเรียนเชื่อมโยง) (3:45)
- วิธีการสอนและตัวอย่างการสอนแบบเรียนอ่านเขียนภาษาไทย (แบบเรียนเชื่อมโยง) (10:28)
- ข้อสอบประจำหน่วยที่ 3
- สรุปความเข้าใจหน่วยที่ 3 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- วัตถุประสงค์
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 4
- สื่อเสริมทวิพหุภาษา (9:01)
- การแยกแยะเสียง (7:49)
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของกิจกรรมเล่าเรื่องผลัด (4:13)
- วิธีการสอนและตัวอย่างการจัดกิจกรรมเล่าเรื่องผลัด (6:21)
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของกิจกรรมลูกโซ่ (2:25)
- วิธีการสอนและตัวอย่างการจัดกิจกรรมลูกโซ่ (4:22)
- ความหมายและวัตถุประสงค์ของปริศนาคำทาย (3:03)
- วิธีการสอนและตัวอย่างการจัดกิจกรรมปริศนาคำทาย (9:23)
- ความหมายวัตถุประสงค์การเขียนเชิงสร้างสรรค์ (2:47)
- ภาพรวมการเขียนเชิงสร้างสรรค์ (7:59)
- การเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้ฉากภาพใหญ่ (8:37)
- การเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้เรื่องจากประสบการณ์ (5:25)
- การเขียนเชิงสร้างสรรค์โดยใช้เรื่องจากหนังรูปภาพ (8:45)
- ข้อสอบประจำหน่วยที่ 4
- สรุปความเข้าใจหน่วยที่ 4 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- วัตถุประสงค์
- เอกสารประกอบการเรียน หน่วยที่ 5
- วิธีการแต่งเรื่องสำหรับเด็ก (3:48)
- การพัฒนาเพลง (4:13)
- การพัฒนาหนังสือรูปภาพ (5:47)
- การผลิตหนังสือรูปภาพ (4:26)
- การพัฒนาหนังสือเล่มใหญ่ (5:34)
- การจัดหน้าหนังสือเล่มใหญ่ (8:24)
- การผลิตหนังสือเล่มใหญ่ (9:42)
- การพัฒนาหนังสือเล่มเล็ก (6:46)
- การผลิตหนังสือเล่มเล็ก (6:22)
- การพัฒนาแบบเรียนภาษาไทย (แบบเรียนเชื่อมโยง) (9:14)
- ขั้นตอนการทำแบบเรียน อ่าน-เขียน ภาษาไทย (การนับความถี่) (4:16)
- ข้อสอบประจำหน่วยที่ 5
- สรุปความเข้าใจหน่วยที่ 5 (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- ส่งชิ้นงานหนังสือเล่มเล็ก 1 เรื่อง (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- ส่งชิ้นงานหนังสือเล่มใหญ่ 1 เรื่อง (สำหรับผู้ที่ต้องนำไปใช้สอนจริง)
- หนังสือยินยอม